มวยไทย (Muay Thai)

ประวัติมวยไทย

ประวัติความเป็นมาของมวยไทย


มวยไทย เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยที่สืบทอดกันมาตั้งแต่อดีต เป็นทั้งศิลปะการต้อสู้และกีฬา เป็นศิลปะการต่อสู้ที่ใช้ในสงครามในสมัยก่อน แต่ยังไม่มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่ยุคสมัยใด แต่น่าจะมีมานานกว่า 1500 ปี แต่ถือได้ว่ามวยไทยนั้นเป็นศิลปะการต่อสู้เช่นเดียวกันกับ กังฟูของจีน ยูโดและคาราเต้ของญี่ปุ่น มวยไทยเป็นที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของในระดับนานาชาติ ในช่วงศตวรรษที่ 20 โดยที่มวยไทยสามารถเอาชนะ นักสู้ที่มีชื่อเสียงในแขนงต่างๆ ได้อย่างน่าเหลือเชื่อ จนได้รับการดูแลจากสภามวยโลก จนได้มีการจัดให้มวยไทย เป็นกีฬาในโอลิมปิก และให้ใช้ชื่อว่ามวยไทย สมัครเล่นนานาชาติ (IFMA) และต่อมาในปี พ.ศ.2557 ทางองค์การสหประชาชาติ ได้มียากให้ มวยไทย (Muay Thai) เป็นกีฬาแห่งประชาคมโลก และได้รับความนิยมจนถึงปัจจุบัน

มวยไทยโบราณ

มวยไทยโบราณ


มวยไทยในอดีตนั้น เป็นศิลปะการต่อสู้ของประเทศไทยตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเครื่องแต่งกายมีแค่เสื้อผ้าและเครื่องรางของขลัง โดยการต่อสู้นั้นใช้ หมัด เท้า เข่า ศอก ท่อนขา เท้า และที่มือจะพันด้ายดิบบนสันหมัดกับข้อมือ ความยาวและลักษณะการพันจะแตกต่างกันตามเชิงมวยต่างๆ ในแต่ละที่เรียกชื่อเชิงมวยแตกต่างกัน ซึ่งเรียกกันว่า มวยคาดเชือก การคาดเชือกนั้นจะทำให้กระดูกนิ้วมือไม่เคล็ดง่าย และหมัดหนักแน่นกว่าเดิม

ส่วนกติกาการชกนั้นใช้ได้ทุกกระบวนท่าของมวยไทย น้ำหนัก อายุ ส่วนสูงไม่เกี่ยว ใช้ฝีไม้ลายมือในชั้นเชิงมวยล้วนๆ ต่อยกันจนหมดเวลาถ้ายังไม่มีใครล้มถือว่าเสมอกัน

มวยไทยในปัจจุบัน


มวยไทยในปัจจุบันนั้น เป็นกีฬามีกติกากำหนดไว้ชัดเจนควบคุมการแข่งขันในทุกๆเรื่อง มีเครื่องแต่งกาย คือ ฟันยาง นวม สวมกางเกงขาสั้น(ตามมุมนั้นๆ)และกะจับ ส่วนของขลังจะมีแค่ มงคล กับ ประเจียด ที่เห็นใช้กัน
การแข่งขันจะมีทั้งหมด 5 ยก ยกละ 3 นาที โดยจะพักยกละ 2 นาที
ในการแข่งนันมวยไทย ผู้แข่งขันจะมีพี่เลี้ยงได้ 2 คน หรือเรียกอีกอย่างว่าโค้ช
มีกรรมการทั้งหมด 4 คน
กรรมการชี้ขาดบนเวที 1 คน
กรรมการผู้ตัดสิน3คน (ในคะแนน)

อาวุติที่ใช้ได้คือ
หมัด เท้า เข่า ศอก ชก ถีบ เตะ ได้ทุกส่วนของร่างกายยกเว้นกระจับ แม่ไม้มวยไทยที่มีอันตรายมากเป็นข้อห้ามไม่ให้ใช้คือ ท่าหลักเพชร เป็นการจับขาแล้วหักด้วยการนั่งทับ และการต่อยคู่ต่อสู้ที่หันหลังให้ เป็นต้น

รุ่นและน้ำหนักของนักมวย

การแข่งขัน กีฬา มวยไทย ( Muay Thai ) ในวันแข่งขัน นักมวยที่จะเข้าแข่งขัน ต้องทำตรวจร่างกาย และชั่งน้ำหนักตัว เพื่อจำแนกรุ่นของนักมวย ให้เข้าแข่งขันกับ นักมวยที่อยู่ในรุ่นเดียวกัน โดยมีเกณฑ์ในการ จำแนกรุ่น ของนักมวยได้ 17 รุ่น ดังต่อไปนี้

1.รุ่นมินิฟลายเวท ( Mini Flyweight )
น้ำหนักต้องเกิน 100 ปอนด์ (45.359 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 105 ปอนด์ (47.627 กิโลกรัม)

2.รุ่นไลท์ฟลายเวท ( Light Flyweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 105 ปอนด์ (47.627 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 108 ปอนด์ (48.987 กิโลกรัม)

3.รุ่นฟลายเวท ( Flyweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 108 ปอนด์ (48.987 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 112 ปอนด์ (50.802 กิโลกรัม)

4.รุ่นซูเปอร์ฟลายเวท ( Super Flyweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 112 ปอนด์ (50.802 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม)

5.รุ่นแบนตั้มเวท ( Bantamweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.523 กิโลกรัม)

6.รุ่นซูเปอร์แบนตั้มเวท ( Super Bantamweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 118 ปอนด์ (53.523 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 122 ปอนด์ (55.338 กิโลกรัม)

7.รุ่นเฟเธอร์เวท( Featherweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 122 ปอนด์ (55.338 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 126 ปอนด์ (57.153 กิโลกรัม)

8.ซูเปอร์เฟเธอร์เวท ( Super Featherweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 126 ปอนด์ (57.153 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 130 ปอนด์ (58.967 กิโลกรัม)

9.รุ่นไลท์เวท ( Lightweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 130 ปอนด์ (58.967 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 135 ปอนด์ (61.235 กิโลกรัม)

10.รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท Super Lightweight
น้ำหนักตัวต้องเกิน 135 ปอนด์ (61.235 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 140 ปอนด์ (63.503 กิโลกรัม)

11.รุ่นเวลเตอร์เวท ( Welterweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 140 ปอนด์ (63.503 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน น 147 ปอนด์ (66.678 กิโลกรัม)

12.รุ่นซูเปอร์เวลเตอร์เวท ( Super Welterweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 147 ปอนด์ (66.678 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 154 ปอนด์ (69.853 กิโลกรัม)

13.รุ่นมิดเดิลเวท ( Middleweight )

น้ำหนักตัวต้องเกิน 154 ปอนด์ (69.853 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 160 ปอนด์ (71.575 กิโลกรัม)

14.รุ่นซูเปอร์มิดเดิลเวท ( Super Middleweight )

ซึ่งจะต้องเกิน 160 โค้ช (71.575 กิโล) แต่ไม่เกิน 168 โค้ช (76.374 กิโล)

15.รุ่นไลท์เฮฟวี่เวท ( Light Heavyweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 168 ปอนด์ (76.374 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 175 ปอนด์ (79.379 กิโลกรัม)

16.รุ่นฟลายเวท ( Flyweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 175 ปอนด์ (779.379 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 190 ปอนด์ (86.183 กิโลกรัม)

17.รุ่นเฮฟวี่เวท ( Heavyweight )
น้ำหนักตัวต้องเกิน 190 ปอนด์ (86.183 กิโลกรัม) ขึ้นไป

ต้องการอ่านเรื่องคาสิโน คลิก คาสิโนคืออะไร

แทงมวย มวยสด มวยสเต็ป คลิก เดิมพันกีฬาออนไลน์ชั้นนำ